ประมวลกฎหมายอาญา-ภาค-2-ความผิด-นาวิน-ขำแป้น

ประมวลกฎหมายอาญา ภาค 2 ความผิด

ลักษณะ 1 ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร
ลักษณะ 1/1 ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย
ลักษณะ 2 ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง
ลักษณะ 3 ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม
ลักษณะ 4 ความผิดเกี่ยวกับศาสนา
ลักษณะ 5 ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน
ลักษณะ 6 ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน
ลักษณะ 7 ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง
ลักษณะ 8 ความผิดเกี่ยวกับการค้า
ลักษณะ 9 ความผิดเกี่ยวกับเพศ
ลักษณะ 10 ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย
ลักษณะ 11 ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง
ลักษณะ 12 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
ลักษณะ 13 ความผิดเกี่ยวกับศพ

ประมวลกฎหมายอาญา ภาค 1 บทบัญญัติทั่วไป

ลักษณะ 1 : บทบัญัติที่ใช้แก่ความผิดทั่วไป
หมวด 1 บทนิยาม (1)
หมวด 2 การใช้กฎหมายอาญา (2-17)
หมวด 3 โทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย
– ส่วนที่ 1 โทษ (18-38)
– ส่วนที่ 2 วิธีการเพื่อความปลอดภัย (39-50)
– ส่วนที่ 3 วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษ และการรอการลงโทษ (51-58)
หมวด 4 ความรับผิดในทางอาญา (59-79)
หมวด 5 การพยายามกระทำความผิด (80-82)
หมวด 6 ตัวการและผู้สนับสนุน (83-89)
หมวด 7 การกระทำความผิดหลายบทหรือหลายกระทง (90-91)
หมวด 8 การกระทำความผิดอีก (92-94)
หมวด 9 อายุความ (95-101)
ลักษณะ 2 : บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ (102-106)

ประมวลกฎหมายอาญา มี 3 ภาค

ประมวลกฎหมายอาญา มี 3 ภาค

ภาค 1 บทบัญญัติทั่วไป – (มาตรา 1-106)

ภาค 2 ความผิด – (มาตรา 107-366/4)

ภาค 3 ลหุโทษ – (มาตรา 367-398)

ฟ้อง-รับเด็กเป็นบุตร-ทนายความ-นาวิน-ขำแป้น

การฟ้องขอให้รับเด็กเป็นบุตร

การฟ้องขอให้รับเด็กเป็นบุตรเป็นกรณีที่ฝ่ายเด็กประสงค์จะให้เด็กนั้นเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของบิดาผู้ให้กำเนิด ซึ่งอาจเป็นกรณีที่บิดาไม่เต็มใจที่จะรับเด็กนั้นไว้เป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายทั้งที่เด็กนั้นเป็นบุตรของตนหรือกรณีที่บิดาตายก่อนที่จะสมรสกับมารดา หรือก่อนจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตร