ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55-นาวิน-ขำแป้น

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง, ประมวลกฎหมาย, กฎหมายวิธีสบัญญัติ1, กฎหมาย
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 55

“เมื่อมีข้อโต้แย้งเกิดขึ้น เกี่ยวกับ สิทธิ หรือ หน้าที่ ของบุคคลใดตามกฎหมายแพ่ง หรือบุคคลใดจะต้องใช้สิทธิทางศาล บุคคลนั้น ชอบที่จะเสนอคดีของตน ต่อศาลส่วนแพ่งที่มีเขตอำนาจได้ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายแพ่ง และ ประมวลกฎหมายนี้”

การใช้สิทธิทางศาล

  การใช้สิทธิทางศาล ไม่ว่าจะเป็น “คดีมีข้อพิพาท” หรือ “คดีไม่มีข้อพิพาท” ต้องทำตามวิธีการที่กฎหมายได้บัญญัติไว้

“คดีมีข้อพิพาท” คือ คดีที่มีข้อโต้แย้ง เกี่ยวกับสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคลใดตามกฎหมายแพ่ง

“คดีไม่มีข้อพิพาท” คือ คดีที่บุคคลใช้สิทธิทางศาลตามบทบัญญัติของกฎหมาย เป็นคดีฝ่ายเดียว ไม่มีคู่กรณี

 

3.3 3 votes
Article Rating
(Visited 13,433 times, 1 visits today)
Subscribe
Notify of
guest
1 Comment
Oldest
Newest Most Voted
Inline Feedbacks
View all comments