รู้ได้อย่างไรว่า-คดีแพ่ง-คดีอาญา

รู้ได้อย่างไร ว่า เป็น “คดีแพ่ง” หรือ “คดีอาญา”

นักกฎหมาย จะแยก “คดีแพ่ง” และ “คดีอาญา” ออกจากกันได้ไม่ใช่เรื่องยากเนื่องจากเป็นพื้นฐานของวิชาชีพกฎหมาย แต่สำหรับประชาชนทั่วไปแล้ว คงจะสับสนมิใช่น้อย ว่า เรื่องที่เกิดเป็นคดีขึ้นนั้น เป็นเรื่องทางแพ่ง หรือทางอาญากันแน่?

      หากเกิดเหตุการณ์  “รถชนกัน” เกิดความเสียหายขึ้นแต่เพียง รถ ของทั้งสองฝ่าย และทั้งสองฝ่าย ก็มิได้ทำประกันไว้เลยทั้งคู่ ถามว่าใคร? จะรับผิดชอบในความเสียหายที่เกิดขึ้น

เหตุการณ์นี้เป็นเพียงความเสียหายที่เกิดกับทรัพย์สินของทั้งสองฝ่ายเท่านั้น

 ถ้าความเสียหายนี้ยัง ไม่มี “คนตาย” หรือ ไม่มี คนบาดเจ็บ “สาหัส”

  มันก็เป็นเพียง “คดีแพ่ง” เท่านั้น

ฟ้องซ้อน ฟ้องซ้ำ

ฟ้องซ้อน ฟ้องซ้ำ

มาตรา 173 วรรคสอง (1)
“นับแต่เวลาที่ได้ยื่นคำฟ้องแล้ว คดีนั้นอยู่ในระหว่างพิจารณา และผลแห่งการนี้
(1) ห้ามไม่ให้โจทก์ยื่นคำฟ้องเรื่องเดียวกันนั้นต่อศาลเดียวกันหรือต่อศาลอื่น และ
(2) ถ้ามีเหตุเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในพฤติการณ์อันเกี่ยวด้วยการยื่นฟ้องคดีต่อศาลที่มีเขตศาลเหนือคดีนั้น เช่น การเปลี่ยนแปลงภูมิลำนาของจำเลย การเปลี่ยนแปลงเช่นว่านี้หาตัดอำนาจศาลที่รับฟ้องคดีไว้ในอันที่จะพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีนั้นไม่”

มาตรา 148 วรรดหนึ่ง
“คดีที่ได้มีคำพิพากษาหรือคำสั่งถึงที่สุดแล้ว ห้ามมิให้คู่ความเดียวกันรื้อร้องฟ้องกันอึกในประเด็นที่ได้วินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกัน”

คำร้องขอให้ชี้ขาดเบื้องต้นในปัญหาข้อกฎหมาย

คำขอให้ชี้ขาดเบื้องต้นในปัญหาข้อกฎหมาย

หลักกฎหมาย ประมวลกฎหมายวิธีพิจ […]

สัญญาประนีประนอมยอมความในศาล [แบบพิมพ์ศาล หมายเลข (๒๙)]

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๓๘ บัญญัติว่า
” ในคดีที่คู่ความตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกันในประเด็นแห่งคดี โดยมิได้มีการถอนคำฟ้องนั้น และข้อตกลงหรือการประนีประนอมยอมความกันนั้นไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย ให้ศาลจดรายงานพิสดารแสดงข้อความแห่งข้อตกลงหรือการประนีประนอมยอมความเหล่านั้นไว้แล้วพิพากษาไปตามนั้น

ห้ามมิให้อุทธรณ์คำพิพากษาเช่นว่านี้ เว้นแต่ในเหตุต่อไปนี้

(๑) เมื่อมีข้อกล่าวอ้างว่าคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งฉ้อฉล

(๒) เมื่อคำพิพากษานั้นถูกกล่าวอ้างว่าเป็นการละเมิดต่อบทบัญญัติแห่งกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน

(๓) เมื่อคำพิพากษานั้นถูกกล่าวอ้างว่ามิได้เป็นไปตามข้อตกลงหรือการประนีประนอมยอมความ

ถ้าคู่ความตกลงกันเพียงแต่ให้เสนอคดีต่ออนุญาโตตุลาการ ให้นำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้ว่าด้วยอนุญาโตตุลาการมาใช้บังคับ “

ป-วิแพ่ง-มาตรา-88-นาวิน-ขำแป้น

ป้องกัน: การยื่นบัญชีระบุพยาน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 88

ไม่มีคำเกริ่นนำเพราะว่านี่เป็นเรื่องที่ถูกป้องกัน

คำฟ้อง

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 1(3) “คำฟ้อง”

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ […]

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 1(6) "คำแถลงการณ์"

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 1(6) “คำแถลงการณ์”

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ […]

กระบวนพิจารณา

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 1(7) “กระบวนพิจารณา”

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ […]

ป-วิ-อ-มาตรา-150

ผู้มีหน้าที่ชันสูตรพลิกศพ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 150

ผู้มีหน้าที่ชันสูตรพลิกศพ&nbsp […]

คำฟ้องคดีแพ่ง ป.วิ.แพ่ง. ม.172-นาวิน-ขำแป้น

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 172

คำฟ้องต้องแสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหาของโจทก์และคำขอบังคับทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาเช่นว่านั้น